Food safety
อาหารปลอดภัย
หน้าแรก
กินอยู่อย่างปลอดภัย
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตรวจพบ #องุ่นไชน์มัสแคท สารตกค้างเกินเกณฑ์มาตรฐาน
Oct 29, 2024
“รังนก” เป็นสารคัดหลั่งที่มาจากต่อมน้ำลายของนกนางแอ่น ที่หลั่งออกมาสร้างรังเพื่อวางไข่และเลี้ยงลูก โดยมีการศึกษาคุณค่าทางโภชนาการอย่างแพร่หลาย พบว่า รังนกมีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพหลากหลายชนิด ยกตัวอย่างเช่น กาแลคโตซามีน กลูโคซามีน และที่สำคัญคือ กรดไซอะลิคหรือเซียลิค ซึ่งเป็นสารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
Oct 03, 2023
มันฝรั่งมีสารพิษที่มีชื่อว่า ไกลโคอัลคาลอยด์ หรือ GAs ซึ่งเป็นสารพิษธรรมชาติชนิดหนึ่งเป็นแอลคาลอยด์ที่ต่ออยู่กับโมเลกุลของน้ำตาล มีแอลฟา-โซลานีน และ แอลฟา-คาโคนีน พบในสายพันธุ์ตระกูล nightshade ภายในสกุล Solanum นอกจากจะพบในมันฝรั่งแล้วนั้นยังสามารถพบใน มะเขือม่วง และ มะเขือเทศอีกด้วย
Sep 18, 2023
รู้หรือไม่ ในฟองน้ำและแผ่นใยขัดล้างจาน อาจมีการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ ก่อให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษได้
Sep 06, 2023
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นต้องหาวิธีนำอากาศเข้าสู่ปอด เช่น เป่าปาก จากนั้นต้องรีบนำส่งแพทย์โดยด่วน เพื่อใช้เครื่องช่วยหายใจ ถ้าช่วยชีวิตเป็นผล ผู้ป่วยจะฟื้นเป็นปกติภายใน 24 ชั่วโมง เว้นแต่ว่าจะขาดอากาศนานเกินไปจนทำให้สมองตาย
Dec 07, 2020
เตือนระวังอันตรายจากหมึกสายวงน้ำเงินหรือหมึกบลูริง (Blue-ringed octopus) มีพิษร้ายแรงมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก มีสารพิษเรียกว่าเตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) ซึ่งเป็นพิษชนิดเดียวกับที่พบในปลาปักเป้า รุนแรงกว่าไซยาไนด์ถึง 1,200 เท่า ทนความร้อนได้สูงถึง 200 องศาเซลเซียส รับประทานเพียงแค่ 1 มิลลิกรัมก็ทำให้เสียชีวิตได้ เน้นย้ำห้ามนำมารับประทานเด็ดขาดถึงแม้จะนำไปทำให้สุกด้วยความร้อน ปิ้ง ย่าง ทอดหรือต้มก็ไม่สามารถทำลายพิษได้ และห้ามจับหรือสัมผัสเพราะหากถูกกัดก็อาจได้รับพิษเช่นกัน
Dec 07, 2020
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เผยการเปลี่ยนน้ำมันเก่าที่ใช้แล้วให้ใสด้วยการเติมแป้งสาลีผสมน้ำ พบทำให้น้ำมันใสขึ้นและมีสีจางลงได้ แต่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมี
July 08, 2020
คำแนะนำสำหรับประชาชนในการใช้ภาชนะบรรจุอาหารให้ปลอดภัย
Aut 30, 2018
วิธีการทดสอบด้วยวิธีต่างๆ หรือความเชื่อต่อไปนี้ ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นเห็ดกินได้ หรือกินไม่ได้
Aut 21, 2017
ขั้นแรกสำคัญสุดคือ ให้อาเจียนเอาเศษอาหารออกมาให้มาก โดยใช้น้ำอุ่นผสมผงถ่าน activated charcoal 2 แก้ว
Aut 21, 2017
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารทะเลจากแหล่งจำหน่ายที่มีชื่อเสียงในจังหวัดชลบุรี และระยอง เช่น ตลาดหนองมน สะพานปลาอ่างศิลา ตลาดประมงพื้นบ้านหาดสวนสน ตรวจวิเคราะห์หาสารปรอท พบปริมาณสารปรอทต่ำกว่าประกาศกระทรวงสาธารณสุข อยู่ในระดับที่ปลอดภัยต่อการบริโภค
Aut 21, 2017
น้ำผึ้ง (honey) หมายถึง ของเหลวรสหวานซึ่งผึ้งผลิตขึ้นจากการดูดน้ำหวานที่มีอยู่ในเกสรดอกไม้หรือจากส่วนใดส่วนหนึ่งของพืชที่ผึ้งนำมาสะสมไว้ในรวงผึ้ง
Aut 04, 2017
ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 1/1 เชียงราย เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์สาหร่ายอบแห้งที่วางขายในพื้นที่ด่านชายแดนอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ไปตรวจสอบลักษณะทางกายภาพ และตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ในห้องปฏิบัติการ ผลตรวจพบว่า
July 03, 2017
สถานการณ์การใช้วัตถุกันเสียในเส้นก๋วยเตี๋ยว และแนวทางการบริโภค
Feb 27, 2017
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ดำเนินการเฝ้าระวังความคุณภาพและปลอดภัยอาหารช่วงเทศกาลกินเจเป็นประจำมาตั้งแต่ปี 2556 จนถึงปัจจุบัน โดยการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเจที่นิยมรับประทานอาหารประเภทผักดอง ผลการตรวจพบว่า
Oct 06, 2016
ก่อนซื้อน้ำส้มคั้นสดๆ ดื่ม ต้องตรวจสอบให้ดีก่อน โดยปกติแล้วน้ำส้มคั้นสดๆ ถ้าตั้งทิ้งไว้จะมีตะกอนเนื้อส้มอยู่ด้านล่าง
June 06, 2016
ข้อแนะนำการบริโภคปลาดิบและการเลือกซื้อปลาทะเลที่แล่ขายนั้น ผู้บริโภคควรเลือกรับประทานปลาทะเลดิบที่จำหน่ายในภัตตาคาร/ร้านอาหารญี่ปุ่นต้นตำรับหรือร้านที่มั่นใจว่าใช้ปลาดิบที่เป็น sashimi-grade หรือ sushi-grade fish ซึ่
May 27, 2016
ปัจจุบันคนไทยนิยมบริโภคเนื้อปลาโดยเฉพาะเนื้อปลาแซลมอนทั้งในรูปนำมาปรุงให้สุกและในรูปของปลาดิบที่รู้จักกันดีในนามของซาซิมิ เมื่อมีการสื่อสารกันในสังคมการสื่อสารยุคใหม่เกี่ยวกับความไม่ปลอดภัยในการบริโภคเนื้อปลาแซลมอน จนทำให้ผู้บริโภคเกิดความกังวล และไม่สบายใจ
May 27, 2016
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ แนะผู้บริโภคไม่ควรบริโภคอาหารชนิดเดียวซ้ำๆ และบริโภคในปริมาณมากๆ โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อนนี้ ผู้บริโภคควรเลือกรับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ ไม่ควรซื้ออาหารมาค้างไว้นานๆ หากมีความจำเป็นต้องเก็บอาหารนั้น ควรเก็บไว้ในตู้เย็น และนำมาอุ่นก่อนรับประทาน
Mar 29, 2016
นางสาวจารุวรรณ ลิ้มสัจจะสกุล ผอ.สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข อธิบายว่า อาหารที่มาจากทะเลมีสิทธิ์ที่จะติดเชื้อโล­หะหนักได้ แต่ 3-4 ปีที่ผ่านมา ผลการตรวจสอบอาหารทะเลนำเข้าเป็นไปตามมาตร­ฐาน ไม่มีอันตรายแต่อย่างใด และเป็นเรื่องน่ายินดีที่ยังไม่พบพยาธิในอ­าหารทะเลนำเข้าประเทศไทย แต่ที่น่ากังวลคือกระบวนการเก็บอาหารและกา­รปรุงอาหาร ก่อนที่จะถึงมือผู้บริโภค อีกอย่างที่น่ากังวลคือเชื้อโรคอาหารเป็นพ­ิษ เนื่องจากอาหารดิบจะนำมาซึ่งพยาธิ การตรวจสอบพบว่ากระบวนการผลิตในประเทศไทยย­ังมีสุขลักษณะไม่ดีเท่าที่ควร
Feb 02, 2016